Herunterladen Diese Seite drucken

PETZL Eject Handbuch Seite 30

Werbung

Verfügbare Sprachen
  • DE

Verfügbare Sprachen

  • DEUTSCH, seite 12
TH
คู ่ ม ื อ การใช้ ง านนี ้ อธิ บ ายให้ ท ราบถึ ง วิ ธ ี ก ารใช้ ง านอย่ า งถู ก ต้ อ ง เฉพาะข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค
และการใช้ ง านบางอย่ า งเท่ า นั ้ น ที ่ ไ ด้ อ ธิ บ ายไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ นได้ บ อกให้ ค ุ ณ ทราบถึ ง อั น ตรายบางส่ ว นที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น จากการใช้
งานของอุ ป กรณ์ แต่ ไ ม่ อ าจบอกได้ ท ั ้ ง หมด ตรวจเช็ ค ที ่ Petzl.com เพื ่ อ หาข้ อ มู ล เพิ ่ ม
เติ ม ล่ า สุ ด
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของคุ ณ ในการระมั ด ระวั ง ต่ อ คำ า เตื อ นและการใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า ง
ถู ก ต้ อ ง ข้ อ ผิ ด พลาดในการใช้ อ ุ ป กรณ์ จ ะทำ า ให้ เ กิ ด อั น ตราย ติ ด ต่ อ Petzl หรื อ ตั ว แทน
จำ า หน่ า ยถ้ า มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ นี ้
1. ส่ ว นที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล (PPE) ใช้ ส ำ า หรั บ ป้ อ งกั น การตก
อุ ป กรณ์ เ พิ ่ ม แรงเสี ย ดทานแบบปรั บ ได้ ส ำ า หรั บ งานปี น ต้ น ไม้
Type B อุ ป กรณ์ ส ำ า หรั บ ทำ า จุ ด ผู ก ยึ ด ชั ่ ว คราว (EN 795:2012 type B) สำ า หรั บ ผู ้ ใ ช้ ง าน
หนึ ่ ง คนเท่ า นั ้ น
อุ ป กรณ์ จ ุ ด ผู ก ยึ ด ผลิ ต ตามข้ อ กำ า หนดของ CEN/TS 16415 สำ า หรั บ ผู ้ ใ ช้ ง านสองคนใน
สถานการณ์ ก ู ้ ภ ั ย
EN 12278:2007 รอก
EJECT มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ท ี ่ ช ่ ว ยให้ ผ ู ้ ใ ช้ ง าน ทำ า งานภายใต้ ข ้ อ กำ า หนดของมาตรฐาน ANSI
Z133
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งไม่ ใ ช้ ร ั บ น้ ำ า หนั ก เกิ น กว่ า ที ่ ร ะบุ ไ ว้ ห รื อ ไม่ น ำ า ไปใช้ ใ นวั ต ถุ ป ระสงค์
อย่ า งอื ่ น นอกเหนื อ จากที ่ ไ ด้ ถ ู ก ออกแบบมา
ความรั บ ผิ ด ชอบ
คำ า เตื อ น
กิ จ กรรมที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ เป็ น สิ ่ ง ที ่ เ ป็ น อั น ตราย
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ การกระทำ า การตั ด สิ น ใจและความปลอดภั ย
ก่ อ นการใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ จะต้ อ ง
- อ่ า นและทำ า ความเข้ า ใจคู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
- การฝึ ก ฝนโดยเฉพาะเพื ่ อ การใช้ ง านที ่ ถ ู ก ต้ อ ง
- ทำ า ความคุ ้ น เคยกั บ ความสามารถและข้ อ จำ า กั ด ในการใช้ ง านของมั น
- เข้ า ใจและยอมรั บ ความเสี ่ ย งที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
การขาดความระมั ด ระวั ง และละเลยต่ อ ข้ อ มู ล นี ้ อาจมี ผ ลให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ อาจ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งถู ก ใช้ ง านโดยผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามสามารถเพี ย งพอและมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบหรื อ
ใช้ ใ นสถานที ่ ท ี ่ อ ยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบโดยตรงหรื อ ควบคุ ม ได้ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ วิ ธ ี ก ารใช้ การตั ด สิ น ใจความปลอดภั ย และ
ยอมรั บ ในผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากวิ ธ ี ก ารนั ้ น ไม่ ค วรใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ้ า คุ ณ ไม่ ส ามารถ หรื อ ไม่
อยู ่ ใ นสภาวะที ่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ
การใช้ ง าน
2. การทำ า งานและการทดสอบ
EJECT เป็ น อุ ป กรณ์ เ พิ ่ ม แรงเสี ย ดทานแบบดึ ง กลั บ ได้ สำ า หรั บ ติ ด ตั ้ ง กั บ เชื อ กใช้ ง าน
ในการปี น ต้ น ไม้
การติ ด ตั ้ ง เชื อ กสามารถทำ า ได้ เ มื ่ อ ประตู จ ุ ด ผู ก ยึ ด ปิ ด อยู ่ เ ท่ า นั ้ น
จุ ด ผู ก ยึ ด จะเปิ ด เมื ่ อ ตั ว ง้ า งเปิ ด ถู ก ดั น ไปทางขวา การเคลื ่ อ นไหวของระบบกลไกนี ้ จ ะทำ า
ไม่ ไ ด้ ใ นขณะที ่ เ ชื อ กถู ก ติ ด ตั ้ ง ในลู ก รอก
สำ า หรั บ การติ ด ตั ้ ง แต่ ล ะครั ้ ง ก่ อ นการใช้ ร ะบบ ให้ ท ำ า การทดสอบการใช้ ง านโดยการ
แขวนบนเชื อ กใช้ ง านในขณะที ่ ไ ด้ ป ้ อ งกั น ไว้ ด ้ ว ยระบบอื ่ น (เชื อ กสั ้ น ...)
แถบเหล็ ก ป้ อ งกั น
แถบเหล็ ก ป้ อ งกั น ช่ ว ยให้ ก ารปิ ด ล็ อ ค/เปิ ด ล็ อ คระหว่ า งจุ ด ผู ก ยึ ด และตั ว ง้ า งเปิ ด ทำ า งาน
ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง โดยไม่ ต ้ อ งมี ก ารปรั บ เปลี ่ ย นใดๆ
การทำ า งานพร้ อ มกั น ของแถบเหล็ ก และตั ว ง้ า งเปิ ด จะทำ า ให้ ร ะบบติ ด ยึ ด กั น (โดย
ปราศจากความเสี ่ ย ง) ในกรณี น ี ้ กดบนแถบเหล็ ก เพื ่ อ ให้ ต ั ว ง้ า งเปิ ด ปล่ อ ยโดยอิ ส ระ
3. ชื ่ อ ของส่ ว นประกอบ
(1) ตั ว รอก (2) สายรั ด (3) ตั ว ปรั บ (4) สายรั ด สำ า รอง (5) ประตู จ ุ ด ผู ก ยึ ด (6) สลั ก (7)
ตั ว ง้ า งเปิ ด (8) แถบเหล็ ก ป้ อ งกั น (9) สปริ ง (10) ลู ก รอก (11) จุ ด ติ ด ยึ ด สายรั ด (12)
ลู ก บอลดึ ง กลั บ
วั ส ดุ ป ระกอบหลั ก อลู ม ี เ นี ย ม เหล็ ก ไนลอน สายรั ด โพลี เ อสเตอร์
4. การตรวจสอบ จุ ด ตรวจสอบ
ความปลอดภั ย ของคุ ณ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความสมบู ร ณ์ ข องอุ ป กรณ์ ข องคุ ณ
Petzl แนะนำ า ให้ ต รวจเช็ ค รายละเอี ย ดของอุ ป กรณ์ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ อย่ า งน้ อ ยทุ ก 12
เดื อ น (ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ข้ อ กำ า หนดกฎหมายของประเทศและสภาพการใช้ ง าน) คำ า เตื อ น การ
ใช้ ง านอย่ า งเข้ ม ข้ น อาจเป็ น สาเหตุ ท ี ่ ท ำ า ให้ ค ุ ณ ต้ อ งทำ า การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์ PPE ด้ ว ย
ความถี ่ ม ากขึ ้ น ทำ า ตามขั ้ น ตอนที ่ แ สดงไว้ ท ี ่ Petzl.com บั น ทึ ก ผลการตรวจเช็ ค PPE ลง
ในแบบฟอร์ ม การตรวจเช็ ค ชนิ ด รุ ่ น ข้ อ มู ล ของโรงงานผู ้ ผ ลิ ต หมายเลขลำ า ดั บ การ
ผลิ ต หรื อ หมายเลขกำ า กั บ อุ ป กรณ์ วั น ที ่ ข องการผลิ ต วั น ที ่ ส ั ่ ง ซื ้ อ วั น ที ่ ใ ช้ ง านครั ้ ง แรก
กำ า หนดการตรวจเช็ ค ครั ้ ง ต่ อ ไป ปั ญ หาที ่ พ บ ความคิ ด เห็ น ชื ่ อ ของผู ้ ต รวจเช็ ค พร้ อ ม
ลายเซ็ น ต์
แนะนำ า ให้ เ ขี ย นวั น ที ่ ต รวจเช็ ค ครั ้ ง ต่ อ ไปไว้ บ นอุ ป กรณ์
ก่ อ นการใช้ ง านแต่ ล ะครั ้ ง
บนตั ว อุ ป กรณ์ ตรวจเช็ ค ว่ า ปราศจากร่ อ งรอยแตกร้ า ว บิ ด เบี ้ ย วผิ ด รู ป ร่ า ง รอยตำ า หนิ
รอยตั ด เป็ น ขุ ย เสี ย หาย สกปรก รอยสึ ก กร่ อ น...
เช็ ค ที ่ ร อยเย็ บ ติ ด และตรวจดู อ ย่ า งละเอี ย ดเพื ่ อ หาส่ ว นที ่ ห ลุ ด ลุ ่ ย หรื อ ตั ด ขาดของเส้ น ด้ า ย
ตรวจเช็ ค สภาพและการทำ า งานของระบบล็ อ ค (เปิ ด ตั ว ง้ า ง จุ ด ผู ก ยึ ด สลั ก แถบเหล็ ก
ป้ อ งกั น )
ระหว่ า งการใช้ ง าน
เป็ น เรื ่ อ งสำ า คั ญ อย่ า งยิ ่ ง ที ่ ต ้ อ งตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ เ ป็ น ประจำ า และการต่ อ
เชื ่ อ มอุ ป กรณ์ เ ข้ า กั บ อุ ป กรณ์ ต ั ว อื ่ น ในระบบ แน่ ใ จว่ า ทุ ก ชิ ้ น ส่ ว นของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ ใ น
ตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งกั บ ชิ ้ น ส่ ว นอื ่ น
5. ความเข้ า กั น ได้
ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ น ี ้ สามารถใช้ ง านเข้ า กั น ได้ ด ี ก ั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ในระบบที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
(เข้ า กั น ได้ ด ี = ใช้ ง านด้ ว ยกั น ได้ โ ดยไม่ ต ิ ด ขั ด )
อุ ป กรณ์ ท ี ่ น ำ า มาใช้ ง านร่ ว มกั บ ตั ว เพิ ่ ม แรงเสี ย ดทาน จะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำ า หนด
มาตรฐานที ่ ใ ช้ บ ั ง คั บ ในแต่ ล ะประเทศ (เช่ น EN 1891 มาตรฐานเชื อ ก)
ตั ว เพิ ่ ม แรงเสี ย ดทาน จะต้ อ งถู ก ติ ด ยึ ด บนจุ ด ผู ก ยึ ด ของต้ น ไม้ โดยเลื อ กใช้ ใ ห้ ต รงกั บ
ข้ อ กำ า หนดตามกฎของศิ ล ปะการดู แ ลต้ น ไม้ ความแข็ ง แรงทนทานของตั ว เพิ ่ ม แรงเสี ย ด
ทาน จะไม่ ม ากเกิ น กว่ า ความแข็ ง แรงของจุ ด ผู ก ยึ ด นี ้
ขนาดของจุ ด ผู ก ยึ ด จะต้ อ งมากกว่ า 10 cm
6. การติ ด ตั ้ ง ตั ว เพิ ่ ม แรงเสี ย ดทาน
เปิ ด จุ ด ผู ก ยึ ด โดยดั น ตั ว ง้ า งปล่ อ ยไปทางขวา พาดสายรั ด รอบจุ ด ผู ก ยึ ด แล้ ว สอดมั น ผ่ า น
ตั ว ปรั บ ติ ด ยึ ด ห่ ว งสายรั ด เข้ า กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด และปิ ด ล็ อ คจุ ด ผู ก ยึ ด
TECHNICAL NOTICE EJECT
เปลี ่ ย นตำ า แหน่ ง ของตั ว ปรั บ เพื ่ อ ปรั บ วางตำ า แหน่ ง ตั ว รอก หมุ น ตั ว ปรั บ เพื ่ อ เลื ่ อ นมั น
ไปตามสายรั ด
สอดเชื อ กผ่ า นตั ว รอก เลื ่ อ นตั ว ง้ า งเปิ ด ขึ ้ น ข้ า งบน เพื ่ อ ให้ เ กิ ด การไหลกลั บ จุ ด ต่ อ ของ
เชื อ กต้ อ งอยู ่ ท างซ้ า ยของตั ว รอก
การติ ด ตั ้ ง หลายจุ ด
การใช้ ส องจุ ด ผู ก ยึ ด (ดู ภ าพประกอบ)
การติ ด ตั ้ ง เชื อ กเดี ่ ย ว ทำ า เงื ่ อ นสต็ อ ปเปอร์ เพื ่ อ ปิ ด กั ้ น ตั ว รอก
คำ า เตื อ น เงื ่ อ นสต็ อ ปเปอร์ จะต้ อ งผู ก เป็ น ห่ ว ง เพื ่ อ ให้ ค าราไบเนอร์ เ ชื ่ อ มต่ อ ได้
การเชื ่ อ มต่ อ สายรั ด เพื ่ อ ใช้ เ ป็ น จุ ด ผู ก ยึ ด ที ่ ใ หญ่ ม ากขึ ้ น ทำ า เงื ่ อ น girth hitch ระหว่ า งห่ ว ง
ใหญ่ ข องสายรั ด หลั ก และห่ ว งเล็ ก ของสายรั ด ที ่ เ พิ ่ ม เข้ า มา เชื ่ อ มต่ อ ห่ ว งขนาดใหญ่ ข อง
สายรั ด ที ่ เ พิ ่ ม มาเข้ า กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด
การใช้ ง านโดยไม่ ต ้ อ งมี ก ารปรั บ ต้ อ งแน่ ใ จว่ า ได้ ท ำ า มุ ม น้ อ ยกว่ า 90° ระหว่ า งสายรั ด
สองเส้ น ที ่ ต ั ว รอก
7. การนำ า กลั บ ลงพื ้ น
การนำ า ตั ว เพิ ่ ม ความเสี ย ดทานลงพื ้ น สามารถทำ า ได้ เ มื ่ อ ผู ้ ใ ช้ ง านไม่ ไ ด้ ถ ่ ว งน้ ำ า หนั ก อยู ่
ในระบบ
การเปิ ด จุ ด ผู ก ยึ ด ตั ว ง้ า งเปิ ด ต้ อ งถู ก ดั น ไปทางขวา ซึ ่ ง จะทำ า ไม่ ไ ด้ ใ นขณะที ่ เ ชื อ กถู ก ติ ด
ตั ้ ง อยู ่ ใ นลู ก รอก
ดึ ง เชื อ กจากด้ า นขวามื อ ซึ ่ ง มี ล ู ก บอลดึ ง กลั บ ติ ด อยู ่ ใ นจุ ด ต่ อ ปลายเชื อ ก
การใช้ ล ู ก บอลดึ ง กลั บ ที ่ จ ั ด มาในชุ ด คำ า เตื อ น ถ้ า ต้ อ งการใช้ ล ู ก บอลอื ่ น ความยาวสาย
เชื อ กของมั น ต้ อ งใกล้ เ คี ย งกั บ ของลู ก บอลดึ ง กลั บ ที ่ ใ ห้ ม า ด้ ว ยสายเชื อ กที ่ ส ั ้ น กว่ า ของ
ระบบดึ ง กลั บ อาจใช้ ง านไม่ ไ ด้
เมื ่ อ เชื อ กไหลออกจากตั ว รอก ความเรี ย วเล็ ก ของสายเชื อ กลู ก บอลดึ ง กลั บ ที ่ ป ลดออก
จากตั ว ง้ า งเปิ ด จะถู ก ดึ ง ไปทางขวาด้ ว ยตั ว ลู ก บอลของมั น เอง กลไกของการเคลื ่ อ นไหว
นี ้ จ ะเปิ ด จุ ด ผู ก ยึ ด สายรั ด สไลด์ ร อบโคนต้ น และตั ว เพิ ่ ม ความเสี ย ดทานจะตกลงมา
ถ้ า อุ ป กรณ์ ต กลงบนพื ้ น ต้ อ งตรวจเช็ ค รายละเอี ย ดของสภาพอุ ป กรณ์ แ ละการใช้ ง าน
ก่ อ นนำ า ไปใช้ ง านครั ้ ง ต่ อ ไป
การดึ ง กลั บ โดยไม่ ใ ห้ ต กสู ่ พ ื ้ น
แนะนำ า ให้ ห ลี ก เลี ่ ย งตั ว เพิ ่ ม ความเสี ย ดทานจากการตกลงสู ่ พ ื ้ น รู ข องลู ก บอลดึ ง กลั บ
ถู ก ออกแบบมาเพื ่ อ การติ ด ยึ ด ระบบ และเพื ่ อ หลี ก เลี ่ ย งตั ว เพิ ่ ม การเสี ย ดทานจากการ
ตกลงสู ่ พ ื ้ น
8. ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ง าน
ข้ อ จำ า กั ด ในการรั บ แรงกระชาก 250 กก
แรงกระทำ า ที ่ จ ะทำ า ให้ อ ุ ป กรณ์ เ สี ย หาย 25 kN
ประสิ ท ธิ ภ าพในการลำ า เลี ย ง
F = 1.05 M
ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 95%
ประสิ ท ธิ ภ าพ วั ด จากเชื อ กขนาดเล็ ก สุ ด ที ่ ใ ช้ ง านเข้ า กั น ได้ ก ั บ ตั ว อุ ป กรณ์
9. ส่ ว นที ่ ใ ช้ ท ดแทน
การเปลี ่ ย นสายรั ด เชื ่ อ มต่ อ ห่ ว งขนาดเล็ ก ของสายรั ด เส้ น ใหม่ เ ข้ า กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด ตรวจเช็ ค
ว่ า สกรู ถ ู ก ขั น แน่ น ดี แ ล้ ว
10. ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม
อุ ป กรณ์ น ี ้ ไ ด้ ผ ลิ ต ตามข้ อ กำ า หนดของข้ อ บั ง คั บ (EU) 2016/425 ในเรื ่ อ ง อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น
ภั ย ส่ ว นบุ ค คล EU รายละเอี ย ดข้ อ รั บ รองมาตรฐาน สามารถหาดู ไ ด้ ท ี ่ Petzl.com
- ต้ อ งแน่ ใ จว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด อยู ่ ใ นตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งเพื ่ อ ลดความเสี ่ ย ง และระยะทางของการ
ตก แน่ ใ จว่ า ได้ อ ยู ่ ใ นตำ า แหน่ ง ต่ ำ า กว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด เพื ่ อ ลดความเสี ่ ย งต่ อ ความเสี ย หายของ
อุ ป กรณ์ ใ นกรณี ข องการตก
- ทิ ศ ทางของการกดถ่ ว งน้ ำ า หนั ก กำ า หนดโดยทิ ศ ทางของเชื อ ก
- คุ ณ จะต้ อ งมี แ ผนการกู ้ ภ ั ย และรู ้ ว ิ ธ ี ก ารทำ า ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ในกรณี ท ี ่ ป ระสบความยุ ่ ง ยาก
ขึ ้ น ในขณะที ่ ใ ช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้
- เมื ่ อ ใช้ อ ุ ป กรณ์ ท ำ า จุ ด ผู ก ยึ ด เป็ น ส่ ว นประกอบในระบบยั บ ยั ้ ง การตก ผู ้ ใ ช้ ง านจะต้ อ ง
คำ า นึ ง ถึ ง ข้ อ จำ า กั ด ของแรงตกกระชาก ซึ ่ ง จะส่ ง ผลต่ อ ผู ้ ใ ช้ ง านเมื ่ อ เกิ ด ภาวะยั บ ยั ้ ง การตก
โดยมี ค ่ า ของความทนทานสู ง สุ ด ที ่ 6 kN
- ค่ า การตกกระชากสู ง สุ ด ที ่ ส ามารถส่ ง ผ่ า นไปยั ง โครงสร้ า ง ถู ก กำ า หนดไว้ โ ดยประมาณ
18 kN ตั ว เพิ ่ ม ความเสี ย ดทานอาจยื ด ออกภายใต้ น ้ ำ า หนั ก กดถ่ ว ง 100 ซม
- ประสิ ท ธิ ภ าพในการทำ า งานของรอกจะผั น แปรตามสภาพของเชื อ กที ่ ใ ช้ เปี ย กและ/
หรื อ มี น ้ ำ า แข็ ง เกาะ
- ห้ า มใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ใ นวิ ธ ี ก ารเพื ่ อ ดึ ง ขึ ้ น
- จุ ด ผู ก ยึ ด ในระบบ จะต้ อ งอยู ่ เ หนื อ ตำ า แหน่ ง ของผู ้ ใ ช้ ง าน และทำ า ตามข้ อ กำ า หนดของ
มาตรฐาน EN 795 (ความแข็ ง แรงต้ อ งไม่ น ้ อ ยกว่ า 12 kN)
- ในระบบยั บ ยั ้ ง การตกเป็ น สิ ่ ง สำ า คั ญ ที ่ จ ะต้ อ งตรวจเช็ ค พื ้ น ที ่ ว ่ า งด้ า นใต้ ข องผู ้ ใ ช้ ง าน
ก่ อ นการใช้ ง านทุ ก ครั ้ ง เพื ่ อ หลี ก เลี ่ ย งการหล่ น ไปกระแทกกั บ พื ้ น หรื อ สิ ่ ง กี ด ขวางใน
กรณี ท ี ่ ม ี ก ารตกเกิ ด ขึ ้ น
- สายรั ด นิ ร ภั ย เป็ น เพี ย งอุ ป กรณ์ ช นิ ด เดี ย วที ่ ช ่ ว ยพยุ ง ร่ า งกาย ในระบบยั บ ยั ้ ง การตก
เท่ า นั ้ น
- เมื ่ อ ใช้ อ ุ ป กรณ์ ห ลายชนิ ด ร่ ว มกั น อาจเกิ ด ผลร้ า ยต่ อ ความปลอดภั ย ในกรณี ท ี ่ อ ุ ป กรณ์
ชนิ ด หนึ ่ ง ถู ก ลดประสิ ท ธิ ภ าพลงด้ ว ยส่ ว นประกอบเพื ่ อ ความปลอดภั ย ของอุ ป กรณ์
ชนิ ด อื ่ น
- คำ า เตื อ น อั น ตราย ต้ อ งแน่ ใ จว่ า อุ ป กรณ์ ไ ม่ ถ ู ก สั ม ผั ส กั บ สารกั ด กร่ อ นหรื อ พื ้ น ผิ ว ที ่
แหลมคม
- ผู ้ ใ ช้ ง านต้ อ งมี ส ภาพร่ า งกายแข็ ง แรง เหมาะกั บ กิ จ กรรมในที ่ ส ู ง คำ า เตื อ น การห้ อ ย
ตั ว อยู ่ ใ นสายรั ด สะโพกเป็ น เวลานานอาจมี ผ ลทำ า ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ อาจ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ใ ช้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ น ี ้ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต าม
อย่ า งเคร่ ง ครั ด
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านต้ อ งจั ด หาให้ ก ั บ ผู ้ ใ ช้ ง านอุ ป กรณ์ น ี ้ ในภาษาท้ อ งถิ ่ น ของประเทศที ่
อุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ู ก นำ า ไปใช้ ง าน
- แน่ ใ จว่ า ป้ า ยเครื ่ อ งหมายที ่ ต ิ ด บนอุ ป กรณ์ ส ามารถอ่ า นได้ ช ั ด เจน
ควรยกเลิ ก การใช้ อ ุ ป กรณ์ เ มื ่ อ ไร
ข้ อ ควรระวั ง ในกิ จ กรรมที ่ ม ี ก ารใช้ อ ย่ า งรุ น แรงอาจทำ า ให้ อ ุ ป กรณ์ ต ้ อ งถู ก เลิ ก ใช้ แ ม้ ห ลั ง
จากการใช้ ง านเพี ย งครั ้ ง เดี ย วทั ้ ง นี ้ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ชนิ ด ของการใช้ ง านและสภาพแวดล้ อ ม
ของการใช้ (สภาพที ่ แ ข็ ง หยาบ สถานที ่ ใ กล้ ท ะเล ขอบมุ ม ที ่ แ หลมคม สภาพอากาศที ่
รุ น แรง สารเคมี . ..)
อุ ป กรณ์ จ ะต้ อ งเลิ ก ใช้ เมื ่ อ
- ได้ เ คยมี ก ารตกกระชากอย่ า งรุ น แรง หรื อ เกิ น ขี ด จำ า กั ด
- เมื ่ อ ไม่ ผ ่ า นการตรวจเช็ ค สภาพ เมื ่ อ มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ แ น่ ใ จ
- เมื ่ อ ไม่ ท ราบถึ ง ประวั ต ิ ก ารใช้ ง านมาก่ อ น
- เมื ่ อ ตกรุ ่ น ล้ า สมั ย จากการเปลี ่ ย นกฏเกณฑ์ ม าตรฐานเทคนิ ค หรื อ ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้
กั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น
ทำ า ลายอุ ป กรณ์ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น การนำ า กลั บ มาใช้ อ ี ก
สั ญ ลั ก ษณ์
A. อายุ ก ารใช้ ง าน - B. เครื ่ อ งหมาย - C. สภาพภู ม ิ อ ากาศ ที ่ ส ามารถใช้ ง านได้ - D. ข้ อ
ควรระวั ง การใช้ ง าน - E. การทำ า ความสะอาด - F. ทำ า ให้ แ ห้ ง - G. การเก็ บ รั ก ษา/การ
ขนส่ ง - H. การบำ า รุ ง รั ก ษา - I. การดั ด แปลงเพิ ่ ม เติ ม /การซ่ อ มแซม (ไม่ อ นุ ญ าตให้ ท ำ า
ภายนอกโรงงานของ Petzl ยกเว้ น ส่ ว นที ่ ส ามารถใช้ ท ดแทนได้ ) - J. คำ า ถาม/ติ ด ต่ อ
อุ ป กรณ์ ม ี ก ารรั บ ประกั น เป็ น เวลา 3 ปี
เกี ่ ย วกั บ วั ต ถุ ด ิ บ หรื อ ความบกพร่ อ งจากการผลิ ต ข้ อ ยกเว้ น จากการรั บ ประกั น การ
ชำ า รุ ด บกพร่ อ งจากการใช้ ง านตามปกติ ปฏิ ก ิ ร ิ ย าจากสารเคมี การแก้ ไ ขดั ด แปลง การ
เก็ บ รั ก ษาไม่ ถ ู ก วิ ธ ี ขาดการดู แ ล การนำ า ไปใช้ ง านที ่ น อกเหนื อ จากที ่ อ ุ ป กรณ์ ไ ด้ ถ ู ก
ออกแบบไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ น
1. สถานการณ์ เ สี ่ ย งที ่ อ าจจะเกิ ด อั น ตรายบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ เสี ย ชี ว ิ ต 2. แสดงให้
เห็ น ถึ ง ความเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด อุ บ ั ต ิ เ หตุ หรื อ การบาดเจ็ บ 3. ข้ อ มู ล สำ า คั ญ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ
ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ง าน หรื อ คุ ณ สมบั ต ิ ข องอุ ป กรณ์ 4. ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้ ข อง
อุ ป กรณ์
เครื ่ อ งหมายและข้ อ มู ล
a. มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ต ามข้ อ กำ า หนดของอุ ป กรณ์ PPE ชื ่ อ เฉพาะที ่ บ อกถึ ง การทดลองผ่ า น
มาตรฐาน EU - b. หมายเลขรั บ รองที ่ ผ ่ า นการทดสอบที ่ ใ ช้ ใ นการควบคุ ม การผลิ ต ของ
PPE นี ้ - c. การสื บ มาตรฐาน ข้ อ มู ล แหล่ ง กำ า เนิ ด - d. ขนาด - e. หมายเลขลำ า ดั บ - f. ปี
ที ่ ผ ลิ ต - g. เดื อ นที ่ ผ ลิ ต - h. หมายเลขลำ า ดั บ การผลิ ต - i. หมายเลขกำ า กั บ ตั ว อุ ป กรณ์ - j.
มาตรฐาน - k. อ่ า นคู ่ ม ื อ การใช้ โ ดยละเอี ย ด - l. ข้ อ มู ล ระบุ ร ุ ่ น - m. ที ่ อ ยู ่ ข องโรงงานผู ้
ผลิ ต - n. แผนผั ง การติ ด ตั ้ ง - o. สำ า หรั บ ผู ้ ใ ช้ ง านหนึ ่ ง คน (EN 795) หรื อ ผู ้ ใ ช้ ง านสอง
คน (TS 16415) เท่ า นั ้ น - p. ตำ า แหน่ ง ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ จุ ด ผู ก ยึ ด อยู ่ ต ่ ำ า กว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด เพื ่ อ ลด
ระยะการตกที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น และความเสี ่ ย งต่ อ การเหวี ่ ย งไปมา - q. ความทนทาน (MBS)
และค่ า การรั บ แรงสู ง สุ ด (WLL) - r. วั น ที ่ ข องการผลิ ต (เดื อ น/ปี ) - s. ห้ า มแกะป้ า ย
เครื ่ อ งหมายออก - t. ทิ ศ ทางของการติ ด ตั ้ ง เชื อ ก - u. ทิ ศ ทางของการติ ด ตั ้ ง สายรั ด - v.
ความยาวของสลิ ง
G0015900C (020221)
30

Werbung

loading