Herunterladen Diese Seite drucken

PETZL JOKO Handbuch Seite 17

Vorschau ausblenden Andere Handbücher für JOKO:

Werbung

TH
คู ่ ม ื อ การใช้ ง านนี ้ อธิ บ ายให้ ท ราบถึ ง วิ ธ ี ก ารใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เฉพาะข้ อ มู ล ทาง
เทคนิ ค และการใช้ ง านบางอย่ า งเท่ า นั ้ น ที ่ ไ ด้ อ ธิ บ ายไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ นได้ บ อกให้ ค ุ ณ ทราบถึ ง อั น ตรายบางส่ ว นที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น จากการใช้
งานของอุ ป กรณ์ แต่ ไ ม่ อ าจบอกได้ ท ั ้ ง หมด ตรวจเช็ ค ที ่ Petzl.com เพื ่ อ หาข้ อ มู ล เพิ ่ ม
เติ ม ล่ า สุ ด
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของคุ ณ ในการระมั ด ระวั ง ต่ อ คำ า เตื อ นและการใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า ง
ถู ก ต้ อ ง ข้ อ ผิ ด พลาดในการใช้ อ ุ ป กรณ์ จ ะทำ า ให้ เ กิ ด อั น ตราย ติ ด ต่ อ Petzl หรื อ ตั ว แทน
จำ า หน่ า ยถ้ า มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ นี ้
1. ส่ ว นที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล (PPE) ใช้ ส ำ า หรั บ ป้ อ งกั น การตก
เชื อ กสั ้ น นิ ร ภั ย สำ � หรั บ แอดเวนเจอร์ พ�ร์ ค
เชื อ กสั ้ น dynamic ใช้ ส ำ า หรั บ การเคลื ่ อ นที ่ ไ ปข้ า งหน้ า ในแนวนอนโดยการยึ ด ติ ด บนตั ว
รอกในระบบ tyrolean ของแอดเวนเจอร์ พาร์ ค
คำ า เตื อ น JOKO ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ทั ้ ง เชื อ กสั ้ น ดู ด ซั บ แรง (energy absorber) สำ า หรั บ ใช้ ค วบคุ ม
ตั ว เองบน via ferrata (ตามมาตรฐาน EN 958) และไม่ ใ ช่ เ ชื อ กสั ้ น นิ ร ภั ย สำ า หรั บ การ
ทำ า งานบนที ่ ส ู ง ตามมาตรฐาน EN 354
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งไม่ ใ ช้ ร ั บ น้ ำ า หนั ก เกิ น กว่ า ที ่ ร ะบุ ไ ว้ ห รื อ ไม่ น ำ า ไปใช้ ใ นวั ต ถุ ป ระสงค์
อย่ า งอื ่ น นอกเหนื อ จากที ่ ไ ด้ ถ ู ก ออกแบบมา
คว�มรั บ ผิ ด ชอบ
คำ � เตื อ น
กิ จ กรรมที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ ก�รใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ เป็ น สิ ่ ง ที ่ เ ป็ น อั น ตร�ย
ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งมี ค ว�มรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ก�รกระทำ � ก�รตั ด สิ น ใจและคว�มปลอดภั ย
ก่ อ นการใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ จะต้ อ ง
- อ่ า นและทำ า ความเข้ า ใจคู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
- การฝึ ก ฝนโดยเฉพาะเพื ่ อ การใช้ ง านที ่ ถ ู ก ต้ อ ง
- ทำ า ความคุ ้ น เคยกั บ ความสามารถและข้ อ จำ า กั ด ในการใช้ ง านของมั น
- เข้ า ใจและยอมรั บ ความเสี ่ ย งที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
ก�รข�ดคว�มระมั ด ระวั ง และละเลยต่ อ ข้ อ มู ล นี ้ อ�จมี ผ ลให้ เ กิ ด ก�รบ�ดเจ็ บ ส�หั ส หรื อ อ�จ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งถู ก ใช้ ง านโดยผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามสามารถเพี ย งพอและมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบหรื อ
ใช้ ใ นสถานที ่ ท ี ่ อ ยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบโดยตรงหรื อ ควบคุ ม ได้ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ วิ ธ ี ก ารใช้ การตั ด สิ น ใจความปลอดภั ย และ
ยอมรั บ ในผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากวิ ธ ี ก ารนั ้ น ไม่ ค วรใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ้ า คุ ณ ไม่ ส ามารถ หรื อ ไม่
อยู ่ ใ นสภาวะที ่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ
การใช้ ง าน
2. ชื ่ อ ของส่ ว นประกอบ
(1) เชื อ กสั ้ น ที ่ ม ี ก ารเย็ บ ถั ก ทอที ่ ป ลาย (2) ห่ ว งผู ก ยึ ด เชื ่ อ มต่ อ (3) การเย็ บ ถั ก ทอปลาย
โดยมี แ ผ่ น พลาสติ ค ป้ อ งกั น (4) รู ส ำ า หรั บ เชื ่ อ มต่ อ
วั ส ดุ ป ระกอบหลั ก ไนลอน
3. ก�รตรวจสอบ จุ ด ตรวจสอบ
ความปลอดภั ย ของคุ ณ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความสมบู ร ณ์ ข องอุ ป กรณ์ ข องคุ ณ
Petzl แนะนำ า ให้ ต รวจเช็ ค รายละเอี ย ดของอุ ป กรณ์ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ อย่ า งน้ อ ยทุ ก 12
เดื อ น (ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ข้ อ กำ า หนดกฎหมายของประเทศและสภาพการใช้ ง าน) คำ า เตื อ น การ
ใช้ ง านอย่ า งเข้ ม ข้ น อาจเป็ น สาเหตุ ท ี ่ ท ำ า ให้ ค ุ ณ ต้ อ งทำ า การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์ PPE ด้ ว ย
ความถี ่ ม ากขึ ้ น ทำ า ตามขั ้ น ตอนที ่ แ สดงไว้ ท ี ่ Petzl.com บั น ทึ ก ผลการตรวจเช็ ค PPE ลง
ในแบบฟอร์ ม การตรวจเช็ ค ชนิ ด รุ ่ น ข้ อ มู ล ของโรงงานผู ้ ผ ลิ ต หมายเลขลำ า ดั บ การ
ผลิ ต หรื อ หมายเลขกำ า กั บ อุ ป กรณ์ วั น ที ่ ข องการผลิ ต วั น ที ่ ส ั ่ ง ซื ้ อ วั น ที ่ ใ ช้ ง านครั ้ ง แรก
กำ า หนดการตรวจเช็ ค ครั ้ ง ต่ อ ไป ปั ญ หาที ่ พ บ ความคิ ด เห็ น ชื ่ อ ของผู ้ ต รวจเช็ ค พร้ อ ม
ลายเซ็ น ต์
ก่ อ นก�รใช้ ง �นแต่ ล ะครั ้ ง
ตรวจเช็ ค เชื อ กและที ่ ร อยเย็ บ ถั ก ป้ อ งกั น ภั ย ตรวจดู ร ่ อ งรอยตั ด ขาด ชำ า รุ ด การเสี ย หาย
จากการใช้ ง าน จากความร้ อ น สั ม ผั ส กั บ สารเคมี โดยเฉพาะอย่ า งยิ ่ ง การตรวจดู ร อย
ตั ด ขาด หรื อ เส้ น ด้ า ยหลุ ด ลุ ่ ย
ระหว่ � งก�รใช้ ง �น
เป็ น เรื ่ อ งสำ า คั ญ อย่ า งยิ ่ ง ที ่ ต ้ อ งตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ เ ป็ น ประจำ า และการต่ อ
เชื ่ อ มอุ ป กรณ์ เ ข้ า กั บ อุ ป กรณ์ ต ั ว อื ่ น ในระบบ แน่ ใ จว่ า ทุ ก ชิ ้ น ส่ ว นของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ ใ น
ตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งกั บ ชิ ้ น ส่ ว นอื ่ น
4. คว�มเข้ � กั น ได้
ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ น ี ้ สามารถใช้ ง านเข้ า กั น ได้ ด ี ก ั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ในระบบที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
(เข้ า กั น ได้ ด ี = ใช้ ง านด้ ว ยกั น ได้ โ ดยไม่ ต ิ ด ขั ด )
อุ ป กรณ์ ท ี ่ น ำ า มาใช้ ง านร่ ว มกั บ JOKO จะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำ า หนดมาตรฐานที ่ ใ ช้
บั ง คั บ ในแต่ ล ะประเทศ (เช่ น EN 12275 เป็ น มาตรฐานเกี ่ ย วกั บ ตั ว เชื ่ อ มต่ อ )
5. ก�รเตรี ย มก�ร
คลิ ป ห่ ว งล็ อ คคาราไบเนอร์ (แบบปิ ด ล็ อ คอั ต โนมั ต ิ เ ท่ า นั ้ น ) ที ่ ร ู ส ำ า หรั บ คล้ อ งต่ อ (ทั ้ ง
สองข้ า ง)
6. ก�รติ ด ตั ้ ง เชื อ กสั ้ น JOKO
6a. ก�รติ ด ยึ ด กั บ ส�ยรั ด สะโพก
ใช้ ห ่ ว งสำ า หรั บ ผู ก ยึ ด คล้ อ งเงื ่ อ นแบบกลั บ หั ว ยึ ด เข้ า กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด บนสายรั ด สะโพก
ให้ ใ ช้ เ ฉพาะการคล้ อ งเงื ่ อ นแบบกลั บ หั ว ในการผู ก ยึ ด เชื อ กสั ้ น JOKO เข้ า กั บ สายรั ด
สะโพกเท่ า นั ้ น
6b. ก�รต่ อ เข้ � กั บ ระบบที ่ ส อง
คำ า เตื อ น ถ้ า จำ า เป็ น ต้ อ งมี ร ะบบอื ่ น ที ่ น อกเหนื อ จาก JOKO จะต้ อ งต่ อ ยึ ด กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด
ของสายรั ด สะโพกและภายใต้ ส ภาวะที ่ ไ ม่ ต ้ อ งต่ อ ยึ ด เข้ า กั บ ห่ ว งผู ก ยึ ด ของ JOKO ถ้ า
จำ า เป็ น ให้ ท ำ า เครื ่ อ งหมายที ่ เ ห็ น ได้ ช ั ด เจนบนจุ ด ผู ก ยึ ด ของสายรั ด สะโพก ด้ ว ยการทำ า
เครื ่ อ งหมายบ่ ง ชี ้ ห รื อ ใช้ ห ่ ว งล็ อ ค quick link
7. EN 17109:2020 ระบบคว�มปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คล
เชื อ กสั ้ น JOKO เมื ่ อ ถู ก ประกอบกั บ ตั ว ล็ อ ค VERTIGO WL หรื อ VERTIGO WL
PARK + CAPTIVO มั น คื อ ระบบความปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คลตามมาตรฐาน EN
17109:2020
8. ก�รเคลื ่ อ นที ่ ไ ปในแนวนอน
8a. ขณะเคลื ่ อ นตั ว ไป ให้ ใ ช้ ป ลายทั ้ ง สองด้ า นของเชื อ กสั ้ น เท่ า นั ้ น
8b. การเคลื ่ อ นผ่ า นจุ ด ผู ก ยึ ด ระหว่ า งกลาง (ดู ภ าพประกอบ)
8c. จุ ด ผู ก ยึ ด จะต้ อ งอยู ่ เ หนื อ ศี ร ษะของผู ้ ใ ช้ ง านเสมอ
TECHNICAL NOTICE JOKO
8d. คำ � เตื อ น อั น ตร�ยอ�จถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต เชื อ กสั ้ น นี ้ ไ ม่ ใ ช่ เ ชื อ กสั ้ น ดู ด ซั บ แรงตกกระช�ก ห้ � มนำ �
ไปใช้ ก ั บ via ferrata หรื อ กิ จ กรรมอื ่ น ที ่ ม ี ส ถ�นภ�พใกล้ เ คี ย งกั น
ก�รป้ อ งกั น ไว้ ก ่ อ น
- การผู ก ปมที ่ เ ชื อ กจะทำ า ให้ ค วามแข็ ง แรงของมั น ลดลง
- เชื อ กที ่ เ ปี ย กชื ้ น หรื อ มี น ้ ำ า แข็ ง เกาะ จะนิ ่ ม ไม่ แ ข็ ง แรงคงทนพอ และเกิ ด การขาดหลุ ด
ลุ ่ ย ได้ ง ่ า ย
- คำ า เตื อ น หลี ก เลี ่ ย งการเสี ย ดสี ก ั บ ขอบ มุ ม ที ่ ม ี ค มเพราะสิ ่ ง เหล่ า นี ้ อ าจทำ า ให้ เ ชื อ กถู ก
ตั ด ขาดได้
9. ก�รเคลื ่ อ นผ่ � นสิ ่ ง กี ด ขว�ง Tyrolean
10.พื ้ น ที ่ ป ลอดภั ย คื อ ช่ อ ง ว่ � งที ่ อ ยู ่ ด ้ � นใต้ ข องผู ้ ใ ช้
ง�น
ระยะห่ า งด้ า นล่ า งของผู ้ ใ ช้ ง าน ต้ อ งพอเพี ย งต่ อ การที ่ ผ ู ้ ใ ช้ ไ ม่ ไ ปกระแทกกั บ สิ ่ ง กี ด ขวาง
ในกรณี ท ี ่ ม ี ก ารตก คำ า เตื อ น ถ้ า มี ค วามเสี ่ ย งต่ อ การตก (ไม่ เ กิ น factor 0.5) ให้ ก ำ า หนด
ระยะห่ า งเท่ า กั บ ความยาวของเชื อ กสั ้ น บวก 2.20 เมตร
11. ข้ อ ควรระวั ง จ�กก�รใช้
แรงกระทำ า ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ระหว่ า งปลายทั ้ ง สองของเชื อ กสั ้ น สามารถทำ า ให้ เ กิ ด การเสี ย หายต่ อ
รอยเย็ บ ที ่ จ ุ ด ต่ อ ยึ ด และเกิ ด อั น ตรายต่ อ ผู ้ ใ ช้ ง าน
สภาพที ่ ม ี ค วามเปี ย กชื ้ น และน้ ำ า แข็ ง สามารถเปลี ่ ย นแปลงประสิ ท ธิ ภ าพของเชื อ กสั ้ น
12. ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม
อุ ป กรณ์ น ี ้ ไ ด้ ผ ลิ ต ตามข้ อ กำ า หนดของข้ อ บั ง คั บ (EU) 2016/425 ในเรื ่ อ ง อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น
ภั ย ส่ ว นบุ ค คล EU รายละเอี ย ดข้ อ รั บ รองมาตรฐาน สามารถหาดู ไ ด้ ท ี ่ Petzl.com
- คุ ณ จะต้ อ งมี แ ผนการกู ้ ภ ั ย และรู ้ ว ิ ธ ี ก ารทำ า ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ในกรณี ท ี ่ ป ระสบความยุ ่ ง ยาก
ขึ ้ น ในขณะที ่ ใ ช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้
- ต้ อ งแน่ ใ จว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด อยู ่ ใ นตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งเพื ่ อ ลดความเสี ่ ย ง และระยะทางของ
การตก
- คำ า เตื อ น ต้ อ งแน่ ใ จว่ า อุ ป กรณ์ ไ ม่ ถ ู ก สั ม ผั ส กั บ สารกั ด กร่ อ น หรื อ พื ้ น ผิ ว ที ่ แ หลมคม
- ผู ้ ใ ช้ ง านต้ อ งมี ส ภาพร่ า งกายแข็ ง แรง เหมาะกั บ กิ จ กรรมในที ่ ส ู ง คำ า เตื อ น การห้ อ ย
ตั ว อยู ่ ใ นสายรั ด สะโพกเป็ น เวลานานอาจมี ผ ลทำ า ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ อาจ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ใ ช้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ น ี ้ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต าม
อย่ า งเคร่ ง ครั ด
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านต้ อ งจั ด หาให้ ก ั บ ผู ้ ใ ช้ ง านอุ ป กรณ์ น ี ้ ในภาษาท้ อ งถิ ่ น ของประเทศที ่
อุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ู ก นำ า ไปใช้ ง าน
- แน่ ใ จว่ า ป้ า ยเครื ่ อ งหมายที ่ ต ิ ด บนอุ ป กรณ์ ส ามารถอ่ า นได้ ช ั ด เจน
ควรยกเลิ ก ก�รใช้ อ ุ ป กรณ์ เ มื ่ อ ไร
ข้ อ ควรระวั ง ในกิ จ กรรมที ่ ม ี ก ารใช้ อ ย่ า งรุ น แรงอาจทำ า ให้ อ ุ ป กรณ์ ต ้ อ งถู ก เลิ ก ใช้ แ ม้ ห ลั ง
จากการใช้ ง านเพี ย งครั ้ ง เดี ย วทั ้ ง นี ้ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ชนิ ด ของการใช้ ง านและสภาพแวดล้ อ ม
ของการใช้ (สภาพที ่ แ ข็ ง หยาบ สถานที ่ ใ กล้ ท ะเล ขอบมุ ม ที ่ แ หลมคม สภาพอากาศที ่
รุ น แรง สารเคมี . ..)
อุ ป กรณ์ จ ะต้ อ งเลิ ก ใช้ เมื ่ อ
- มี อ ายุ เ กิ น กว่ า 10 ปี สำ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ค หรื อ สิ ่ ง ทอ
- ได้ เ คยมี ก ารตกกระชากอย่ า งรุ น แรง หรื อ เกิ น ขี ด จำ า กั ด
- เมื ่ อ ไม่ ผ ่ า นการตรวจเช็ ค สภาพ เมื ่ อ มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ แ น่ ใ จ
- เมื ่ อ ไม่ ท ราบถึ ง ประวั ต ิ ก ารใช้ ง านมาก่ อ น
- เมื ่ อ ตกรุ ่ น ล้ า สมั ย จากการเปลี ่ ย นกฏเกณฑ์ ม าตรฐานเทคนิ ค หรื อ ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้
กั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น
ทำ า ลายอุ ป กรณ์ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น การนำ า กลั บ มาใช้ อ ี ก
สั ญ ลั ก ษณ์
A. อ�ยุ ก �รใช้ ง �น 10 ปี - B. เครื ่ อ งหม�ย - C. สภ�พภู ม ิ อ �ก�ศ ที ่ ส �ม�รถใช้ ง �นได้ - D.
ข้ อ ควรระวั ง ก�รใช้ ง �น - E. ก�รทำ � คว�มสะอ�ด/ฆ่ � เชื ้ อ โรค - F. ทำ � ให้ แ ห้ ง - G. ก�ร
เก็ บ รั ก ษ�/ก�รขนส่ ง - H. ก�รบำ � รุ ง รั ก ษ� - I. ก�รดั ด แปลงเพิ ่ ม เติ ม /ก�รซ่ อ มแซม (ไม่
อนุ ญ าตให้ ท ำ า ภายนอกโรงงานของ Petzl ยกเว้ น ส่ ว นที ่ ส ามารถใช้ ท ดแทนได้ ) - J.
คำ � ถ�ม/ติ ด ต่ อ
อุ ป กรณ์ ม ี ก �รรั บ ประกั น เป็ น เวล� 3 ปี
เกี ่ ย วกั บ วั ต ถุ ด ิ บ หรื อ ความบกพร่ อ งจากการผลิ ต ข้ อ ยกเว้ น จากการรั บ ประกั น การ
ชำ า รุ ด บกพร่ อ งจากการใช้ ง านตามปกติ ปฏิ ก ิ ร ิ ย าจากสารเคมี การแก้ ไ ขดั ด แปลง การ
เก็ บ รั ก ษาไม่ ถ ู ก วิ ธ ี ขาดการดู แ ล การนำ า ไปใช้ ง านที ่ น อกเหนื อ จากที ่ อ ุ ป กรณ์ ไ ด้ ถ ู ก
ออกแบบไว้
เครื ่ อ งหม�ยคำ � เตื อ น
1. สถานการณ์ เ สี ่ ย งที ่ อ าจจะเกิ ด อั น ตรายบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ เสี ย ชี ว ิ ต 2. แสดงให้
เห็ น ถึ ง ความเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด อุ บ ั ต ิ เ หตุ หรื อ การบาดเจ็ บ 3. ข้ อ มู ล สำ า คั ญ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ
ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ง าน หรื อ คุ ณ สมบั ต ิ ข องอุ ป กรณ์ 4. ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้ ข อง
อุ ป กรณ์
เครื ่ อ งหม�ยและข้ อ มู ล
a. มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ต ามข้ อ กำ า หนดของอุ ป กรณ์ PPE ชื ่ อ เฉพาะที ่ บ อกถึ ง การทดลองผ่ า น
มาตรฐาน EU - b. หมายเลขรั บ รองที ่ ผ ่ า นการทดสอบที ่ ใ ช้ ใ นการควบคุ ม การผลิ ต ของ
PPE นี ้ - c. การสื บ มาตรฐาน ข้ อ มู ล แหล่ ง กำ า เนิ ด - d. หมายเลขลำ า ดั บ - e. ปี ท ี ่ ผ ลิ ต - f.
เดื อ นที ่ ผ ลิ ต - g. หมายเลขลำ า ดั บ การผลิ ต - h. หมายเลขกำ า กั บ ตั ว อุ ป กรณ์ - i. อ่ า นข้ อ มู ล
การใช้ ง านอย่ า งละเอี ย ด - j. ข้ อ มู ล ระบุ ร ุ ่ น - k. วั น ที ่ ข องการผลิ ต (เดื อ น/ปี ) - l. ความ
แข็ ง แรง
L0013400B (130220)
17

Werbung

loading